วัยเกษียณจะมากขึ้นไทยรับมือกับเศรษฐกิจอย่างไร

วัยเกษียณจะมากขึ้น จะเกิดอะไรขึ้นถ้าสังคมไทยได้เข้าสู่วัยเกษียณ40%ของประชากรโครงสร้างเศรษฐกิจจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกระทบอย่างไรต่อการทำธุรกิจของพวกเราเรื่องของสังคมผู้สูงอายุก็คือถ้าตามเกมปกติก็คืออายุเกิน60ปี20%ของประชากรแต่ถ้าเกิดจะเป้นสังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบจริงๆคืออายุเกิน65ปีขึ้นไป14%ของประชากรทั้งหมด

ซึ่งประเทศไทยตอนนี้กำลังไปสู่สังคมของผู้สูงอายุที่จริงแล้วเราไปเรียกพวกเขาว่าผู้สูงอายุไม่ได้แล้วไลฟ์สไตล์แต่ละวัยมันต่างกันบางคนยังจับจ่ายใช้สอยกันอยู่ใช้ของบำรุงกันอยู่ยังแข็งแรงกันอยู่สุขภาพของผิวอะไรก็เป้นเรื่องปกติมากยิ่งขึ้นมันก็เป้นในส่วนของการตลาด

นอกจากนี้ถ้าจะดูในโครงสร้างเศรษฐกิจอย่างไรก็ดีปัจจัยในเรื่องของผู้สูงอายุ

ก็ยังคงเป็นปัจจัยที่ใหญ่มากเหมือนกันและก็ได้มีผลวิจัยจากKKPทำเอาไว้ค่อนข้างดีเขาได้ใช้ชื่อว่า ทศวรรษถัดไปธุรกิจจะโตอย่างไรเมื่อคนไทยกว่า40%เข้าวัยเกษียณ กว่า40%เลยในปี10ปีข้างหน้าคือในวัยเกษียณของKKPหมายถึงคนที่อายุเกิน50ปีขึ้นไปจะกินประมาณ40%ของประชากรไทยในอีก10ปีข้างหน้ามัยมีผลกระทบอย่างไรบ้าง

แน่นอนแล้วว่าถ้าเรามองดูกันคร่าวๆการบริโภคก็จะต้องชะลอตัวลงตลาดสินค้าภายในประเทศไม่ได้เติบโตเหมือนในอดีตการขาดแรงงานในการทำงานก็จะให้ไทยมีความน่าสนใจหรือการดึงดูดการลงทุนได้น้อยลงธุรกิจที่เคยเป็นแรงขับเคลื่อนของเศรษฐกิจไทยไม่ว่าจะเป็นรถยนต์อาหารและเครื่องดื่มเสื้อผ้าก็อาจจะไม่ได้ขยายตัวได้ดีเหมือนก่อนเพราะว่าคนหนุ่มสาวมันน้อยลง

โดยมีแค่เพียงบางธุรกิจที่ยังเติบโตได้ดีตามแนวโน้มของสังคมสูงอายุสูงวัย

เช่นยาสุขภาพโรงพยาบาลในขณะเดียวกันภาวะสังคมสูงวัยนี้มีส่วนสร้างแรงกดดันอัตราเงินเฟ้อแล้วก็อัตราดอกเบี้ยให้อยู่ต่ำเพราะว่าการบริโภคของเราน้อยลงและเงินบาทแข็งค่าด้วยก็เรื่องของการเกินดุลก็ยังคงสร้างความท้าทายและข้อจำกัดต่อนโยบายทางการเงินแล้วก้การคลังในระยะถัดไป

เพราะฉะนั้นในภาคธุรกิจและภาครัฐจะต้องปรับตัวอย่างไรเรามาคุยกันเราจะเห็นกันในหลายมิติเลยทีเดียวเราคิดว่ามันน่าจะเป็นความท้าทายที่ใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งของประเทศไทยลองค่อยๆไล่กันไปทีละขั้นว่าทำไมในประเทญไทยในอีก10ปีข้างหน้าจะมสังคมที่เข้าสู่วัยเกินประมาณ50กว่า40%มันมาเกี่ยวข้องกับค่าเงินบาทด้วยมันเกี่ยวข้องกับอัตราของดอกเบี้ยด้วย

สิ่งแรกเลยเราอยากจะให้ดูก็จะเป็นจำนวนประชากรแบ่งไปตามช่วงอายุแบ่งไปตามช่วงของวัยเกษียณแล้วก็เตรียมเกษียณโดยปกติแล้วก็จะแบ่งไปเรื่อยๆเพื่อไล่เรียงระดับของแต่ละวัยไปเพื่อให้ได้สัดส่วนที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

 

สนับสนุนโดย.   gclub สมัครสมาชิก